Author: รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

ฝ่าวิกฤติโควิด-19 ด้วยนโยบายฟื้นเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

/

การระบาดของโควิด-19 ทำให้เศรษฐกิจหลายประเทศเจ็บหนัก สิ่งแวดล้อมจึงกลายเรื่องรองที่ต้องรอให้เศรษฐกิจฟื้นตัว แต่หากไม่รีบลดการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในปัจจุบัน ต้นทุนของการไม่ทำอะไรอาจสูงถึง 600 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในสิ้นศตวรรษนี้ โชคดีที่เรายังพอมีทางออก นั่นคือการออกแบบนโยบายฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังโควิด-19 ที่เอื้อต่อการเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ เป็นการก่อร่างสร้างเศรษฐกิจที่พังทลายขึ้นมาใหม่ให้พร้อมรับมือกับวิกฤติภูมิอากาศที่กำลังจะมาถึงในอนาคต

คลายข้อสงสัยและทำความเข้าใจ ‘ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง’

/

ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงมีจุดกำเนิดตั้งแต่ราว 30 ปีก่อนโดยใช้เป็นแกนหลักอำนวยความสะดวกในการประเมินผลลัพธ์ของโครงการ แต่นับวันคำว่าทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงดูจะมีความหมายผิดแผกแตกต่างไปจากเดิม เกิดเป็นช่องว่างทางความเข้าใจในแวดวงธุรกิจเพื่อสังคมและนักประเมินผลลัพธ์ของโครงการที่มีเป้าหมายสาธารณะ บทความวิชาการโดย Maoz Brown ชวนเราทบทวนนิยามเกี่ยวกับทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงแล้วนำมาสรุปเป็นกรอบคิดได้อย่างน่าสนใจ จึงเป็นโอกาสอันดีที่เราจะมาทำความเข้าใจอีกครั้งว่าทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงมีความหมายว่าอะไรกันแน่

นักวิทยาศาสตร์สร้างแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างไร?

/

เคยสงสัยไหมครับว่าเหล่านักวิทยาศาสตร์สร้างแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างไร เพื่อใช้คาดทำนายระดับอุณหภูมิในอนาคตที่ไกลแสนไกลถึงอีก 80 ปีข้างหน้า? บทความนี้ ชวนมาทำความเข้าใจแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขั้นพื้นฐาน ทำความรู้จักฉากทัศน์การปล่อยแก๊สเรือนกระจก และเตรียมความพร้อมสำหรับรายงานการประเมินฉบับที่ 6 ของไอพีซีซีที่เราน่าจะได้เห็นภายในสิ้นปีหน้า

ขอบเขตที่ไม่ควรข้าม รู้จักขีดความสามารถในการรองรับของโลก

/

“ขีดความสามารถในการรองรับของโลก (Planetary Boundaries)” นำเสนอ 9 ขอบเขตที่อิงจากกระบวนการสร้างสมดุลตามธรรมชาติที่สำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งหากมนุษย์ก้าวข้ามก็อาจเกิดความเสี่ยงอย่างยิ่งที่สมดุลบนโลกจะพังทลายลงและสร้างความเสียหายต่อสังคมและเศรษฐกิจทั่วโลก เราสามารถมองขอบเขตดังกล่าวว่าเป็นพื้นที่ปลอดภัยในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษยชาติ โดยสามารถสรุปเป็นหน้าปัดตัวแปรของแต่ละขอบเขตที่สามารถพิจารณาได้ในเชิงปริมาณ

แก่นสารของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TEDxThammasatU 2017)

/

วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา คุณสฤณี อาชวานันทกุล กรรมการผู้จัดการด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จำกัด ได้เป็นหนึ่งในวิทยากรของงาน TEDxThammasatU 2017 โดยหัวข้อที่คุณสฤณีหยิบมาบอกเล่า คือเรื่องราวที่กลั่นกรองจากประสบการณ์ 4 ปีที่คลุกคลีกับประเด็นความยั่งยืนของภาคธุรกิจ และพบว่าการแก้ไขมิติใดมิติหนึ่งเพียงลำพัง ยากที่จะตอบโจทย์ความยั่งยืน

แอบดูธุรกิจยั่งยืนรางวัล the guardian

/

ทุกๆ ปี หนังสือพิมพ์ the guardian จะมีการจัดอันดับและมอบรางวัลธุรกิจที่ยั่งยืน โดยมีหลากหลายด้าน อาทิ การจัดการขยะ การจัดการน้ำ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การสร้างผลลัพธ์ทางสังคม และสตาร์ตอัพแห่งปี โดยในบทความนี้ จะขอหยิบยกตัวอย่างธุรกิจที่ ‘ยั่งยืน’ ในประเด็นที่น่าสนใจ และอาจเป็นแรงบันดาลใจในการเปลี่ยนแปลงเส้นทางสู่ความยั่งยืน

งานสัมมนา: การเปิดเผยข้อมูลกับซีเอสอาร์ของบริษัทพลังงานไทย: ปัจจุบันและอนาคต

/

บริษัท ป่าสาละ จำกัด ขอเชิญร่วมรับฟังการนำเสนอรายงานผลการศึกษาวิจัย เรื่อง “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับ” โดย คุณสฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการ และการเสวนา หัวข้อ “การเปิดเผยข้อมูลกับซีเอสอาร์ของบริษัทพลังงานไทย: ปัจจุบันและอนาคต”

กินมังฯ ทำไม ?

/

นั่นสิครับ เรากินมังสวิรัติทำไม เหตุผลแรกอาจเพื่อลดการทรมาณสัตว์ในอุตสาหกรรมปศุสัตว์ เหตุผลที่สองคือการรักษาสุขภาพ และในบทความนี้ ผู้เขียนจะพาไปสำรวจเหตุผลที่สาม คือกินมังสวิรัติเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

Ecolabel – เขียวติดป้าย

/

ในฐานะผู้บริโภค คงเป็นเรื่องยากที่จะรับรู้ปัญหาในห่วงโซ่อุปทานอันยาวเหยียดของเสื้อผ้าที่หรืออาหาร และ คงไม่น่าสนุกนัก หากขณะช้อปปิ้งสิ้นค้าในโมเดิร์นเทรดทุกชิ้น เราจำเป็นต้องค้นข้อมูลว่าสินค้าดังกล่าวมีข่าวผลกระทบเชิงลบหรือไม่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรไม่แสวงหากำไรก็สร้าง ‘ทางออก’ ที่เปรียบเสมือนข้อมูลยืนยันกับผู้บริโภคว่าสินค้าที่กำลังเลือกซื้ออยู่นั้น ‘มีความรับผิดชอบ’ โดยย่นย่อข้อมูลข่าวสารมาในรูปแบบตราสัญลักษณ์บนสินค้าหรือที่รู้จักกันในชื่อ Ecolabel

วิกฤตสีฟ้า (2) – น้ำกับความเสี่ยงในภาคธุรกิจ

/

รายงานความเสี่ยงโลก พ.ศ. 2559 (The Global Risk Report 2016) ระบุว่า ‘วิกฤตสีฟ้า’ ติด 1 ใน 10 ความเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้และจะสร้างผลกระทบมากที่สุดทั้งต่อภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในอีก 10 ปีข้างหน้า น้ำยังเป็นส่วนประกอบสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของแทบทุกอุตสาหกรรมและยากที่จะหาวัตถุดิบอื่นมาทดแทน ผู้บริหารและนักลงทุนจึงมีความจำเป็นที่จะต้องประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับน้ำ เพื่อเตรียมรับมือกับวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

หน้าที่ 3 จาก 512345