คู่มือการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมและผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน ฉบับปรับปรุง 2560
คู่มือการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมและผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน ฉบับปรับปรุง 2560 สนับสนุนทุนในการจัดทำ โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
คู่มือการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมและผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน ฉบับปรับปรุง 2560 สนับสนุนทุนในการจัดทำ โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ภาคผนวก รายงานการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม กิจการเพื่อสังคม 6 แห่ง สนับสนุนทุนวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
รายงานวิจัย “โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมสำหรับกิจการเพื่อสังคม” สนับสนุนทุนวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ผู้ก่อตั้ง Simple เล็งเห็นว่า ผู้บริโภคทางการเงินโดยเฉพาะคนรุ่นมิลเลนเนียล มีความคุ้นเคยกับการทำธุรกรรมต่างๆ ผ่านโทรศัพท์มือถืออย่างต่อเนื่อง และได้บริการทางการเงินที่ “เข้าใจง่าย” และ “เป็นมิตร” ในยุคที่ผลิตภัณฑ์ทางการเงินซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ และผู้บริโภคต้องปวดหัวกับ “การจัดการเงิน” ของตัวเองมากขึ้น จากแรงกดดันต่างๆ ในชีวิตยุคที่ทุกคนต้องพึ่งตนเอง
วันนี้เราได้ยินคำที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีในการให้บริการทางการเงิน ไม่ว่า “ฟินเทค” “พร้อมเพย์” “บิ๊กดาต้า” และล่าสุดก็ “คิวอาร์โค้ด” หนาหูขึ้นเรื่อยๆ ส่วนหนึ่งเพราะธนาคารไทยแทบทุกแห่งกำลังตื่นตัวตื่นเต้นในการต้อนรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อยกระดับการให้บริการลูกค้า ซึ่งก็นับว่าเป็นข่าวดีสำหรับผู้บริโภคทางการเงิน แต่ยิ่งสถาบันการเงินเก็บข้อมูลเรามากขึ้นในศตวรรษที่ 21 ยุคซึ่งเทคโนโลยีอยู่รายรอบตัวเราทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น การคุ้มครอง “ความเป็นส่วนตัว” ยิ่งทวีความสำคัญและท้าทายขึ้นเรื่อยๆ
การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology and Its Potential for Inclusive Economy)
โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ
สรุปรายงานวิจัย เรื่อง การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology
and Its Potential for Inclusive Economy) โดย สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จำกัด, สิงหาคม 2560 | รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “การจัดทำและเผยแพร่ชุดงานวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนา “การธนาคารที่ยั่งยืน”” สนับสนุนโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา
วรรณกรรมปริทัศน์ “แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “รางวัลองค์กรที่น่าทำงานด้วยที่สุดภายใต้แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
คงไม่มีใครอยากเป็นหนี้ ไม่ว่าจะกู้เงินไม่กี่พันบาทจากเพื่อน บากหน้าไปยืมญาติ หรือบากบั่นดั้นด้นไปกรอกแบบฟอร์มกองโตเพื่อกู้เงินซื้อบ้านก็ตาม เมื่อเราเป็นหนี้ เราย่อมตกอยู่ในสถานะของ “ลูกหนี้” และในเมื่อเรารู้สึกว่าการผ่อนชำระหนี้ให้ตรงเวลาคือ “หน้าที่” เราก็มักจะก้มหน้าก้มตาพยายามผ่อนชำระให้ครบจำนวนและตรงเวลา โดยไม่แม้แต่จะนึกถึง “ความเป็นธรรม” ของหนี้
หนึ่งในนโยบายของทรัมป์ คือคำประกาศกร้าวของทรัมพ์เมื่อยามเดินสายหาเสียงว่า “ผมจะรื้อกฎหมาย Dodd-Frank!” จะส่งผลสะเทือนกว้างไกลต่อภาคธนาคารทั้งในและนอกอเมริกา รวมถึงกำลังจุดประกายวิวาทะรอบใหม่ที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่าด้วย “เส้นแบ่ง” ระหว่างบทบาทของกลไกตลาด กับบทบาทของกลไกรัฐ ว่าควรขีดกันตรงไหนอย่างไรสำหรับธุรกิจสถาบันการเงิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคม