ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2566
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2566 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2566 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2565 และสรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2564 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2563 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2562 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
สไลด์นำเสนอ ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2562 โดย สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการวิจัย โครงการ Fair Finance Thailand
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2561 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
วันนี้ในระดับสากล ความเข้าใจและจริงใจของธนาคารในการเปลี่ยนเส้นทางสู่ธนาคารที่ยั่งยืน ในแง่ของการปล่อยสินเชื่อธุรกิจ จะดูจากสองเรื่องด้วยกัน คือ หนึ่ง การออกและบังคับใช้นโยบายสินเชื่อ (credit policy) ที่ชัดเจน คำนึงถึงความเสี่ยงด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และธรรมาภิบาล (Environment, Social & Governance ย่อว่า ความเสี่ยง ESG) มีรายการธุรกิจความเสี่ยง ESG สูงที่ธนาคารจะไม่สนับสนุน (exclusion list) และสอง การบูรณาการกระบวนการประเมินความเสี่ยง ESG เข้าไปในกระบวนการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร ไม่ใช่ดูแค่ว่าลูกค้าปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่ เพราะกฎหมายตามความเสี่ยง ESG ไม่ทัน
สามปีแล้วหลังจากที่โครงการวิจัย “เหตุผลทางธุรกิจของการธนาคารที่ยั่งยืนในประเทศไทย” สรุป “เหตุผลทางธุรกิจ” หรือ business case ของการเข้าสู่วิถีการธนาคารที่ยั่งยืนของธนาคารพาณิชย์ไทย วันนี้ผู้เขียนอยากย้อนกลับไปสรุปเหตุผลทางธุรกิจสั้นๆ ของการทำธุรกิจธนาคารอย่างรับผิดชอบ และสรุปสั้นๆ ว่าสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศไทยเป็นอย่างไร ณ ต้นปี พ.ศ. 2562
ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล สังคมและสิ่งแวดล้อม กับระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงของธนาคาร (ESG Risks and Bank’s Risk Management System) โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ