Blog

ทำความเข้าใจกับ 8 ประเด็น “สับสน” เรื่องกิจการเพื่อสังคม

/

ปัจจุบันกิจการเพื่อสังคม (social enterprise) กำลังได้รับความสนใจอย่างยิ่ง ทั้งจากผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ภาครัฐที่กำลังผลักดันกฎหมายและมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเพื่อสังคม อย่างไรก็ตามความสนใจที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ก็มาพร้อมกับความสับสนในความหมายและคุณสมบัติของกิจการเพื่อสังคม บทความนี้จะพาเราไปสำรวจเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ที่ผู้คนมักจะสับสนของกิจการเพื่อสังคม 8 ประเด็น

ปรับพฤติกรรม รับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

/

เราเห็นข่าวแทบทุกวันถึงเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติ คลื่นความร้อนและความเย็นที่ทำให้อากาศแปรปรวนแบบคาดเดาไม่ได้ ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นจนบางเกาะที่เคยมีอยู่เริ่มจมหาย สัตว์หลายชนิดสูญพันธุ์ หากเราเป็นมนุษย์ที่ขับเคลื่อนโดยตรรกะและเหตุผล พวกเราคงต้องทำทุกวิธีเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่ภาพดังกล่าวยังดูห่างไกลจากความเป็นจริงคำถามที่เราต้องหาคำตอบคือทำไม และปัจจัยใดที่จะสนับสนุนให้เราเปลี่ยนพฤติกรรม

สิทธิสตรี กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

/

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนับวันจะชัดเจนมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิที่สูงขึ้นอย่างรู้สึกได้ ความเป็นกรดในมหาสมุทร และภัยธรรมชาติที่เกิดบ่อยครั้งและรุนแรงยิ่งขึ้น แต่หากจะบอกว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกี่ยวโยงกับสิทธิสตรีด้วย หลายคนคงจะสงสัย เพราะดูเป็นประเด็นที่ไม่น่าจะมาเกี่ยวข้องกันได้ ทั้งๆ ที่จริงๆ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกันอย่างแยกไม่ออก

Rachel Notley ผู้ว่าการมลรัฐอัลเบอร์ตา ที่มาภาพ: http://www.nationalobserver.com/2016/01/07/news/path-albertas-climate-deal

“เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” ในฐานะ “จริยธรรมสากล” และบทเรียนจากแคนาดา

/

ความคิดใหญ่ๆ อย่าง SDGs นั้นฟังดูดี แต่ “รูปธรรม” ในทางปฏิบัตินั้นยากเย็นไม่น้อย โดยเฉพาะการจะต้องนำมาปรับเปลี่ยนนโยบายการพัฒนาระดับชาติในเรื่องที่มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเข้ามาเกี่ยวข้องไม่ต่ำกว่าหลายแสนล้านบาทต่อปี การเปลี่ยนแปลงชนิด “180 องศา” ของมลรัฐอัลเบอร์ตา (Alberta) ประเทศแคนาดา เจ้าของขุมทรัพย์ทรายน้ำมัน (oil sands) จึงเป็นบทเรียนสำคัญที่ทั่วโลกควรศึกษา รวมทั้งไทยด้วย

มูลค่าตลาดของบริษัทใหญ่ เทียบกับมูลค่าตลาดหุ้นทั้งตลาดของบางประเทศ ที่มา: http://www.economist.com/news/finance-and-economics/21594476-scarce

สามปัจจัยกำหนดจุดพลิกผันทางวัฒนธรรม (cultural shift) สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน

/

ผู้เขียนเห็นว่า จะต้องมีสามปัจจัยต่อไปนี้ในระดับ “พัฒนาการ” ที่ก้าวหน้ามากพอ จึงจะเกิด “cultural shift” หรือ “การเปลี่ยนผ่านเชิงวัฒนธรรม” สู่ “ธุรกิจที่ยั่งยืน” ในสังคมไทยได้ : ธรรมาภิบาลแบบประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง ความโปร่งใสขั้นสุดขั้วของภาคธุรกิจ และการปรับค่านิยมของสังคมให้สอดคล้องกับจริยธรรมสากล

วิทยากรร่วมเสวนา "ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืนในไทย"

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (2) : แนวโน้มในประเทศไทย

/

การดำเนินธุรกิจโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงของบริษัท หลายประเทศยังมีนโยบายปฏิเสธการรับซื้อสินค้าที่อาจมีวัตถุดิบปนเปื้อน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอีกด้วย ผลกระทบเชิงลบดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจในประเทศไทยไม่ควรละเลย และควรมีการร่วมกันคิดหาทางออกที่ยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (1) : ภาพรวมจากบริบทโลก

/

ปัจจุบัน โลกเผชิญความท้าทายและภัยคุกคามมากมายเกินกว่าที่ภาครัฐเพียงลำพังจะสามารถรับมือได้ ปัญหาเหล่านี้ภาคธุรกิจย่อมมีส่วนรับผิดชอบในฐานะผู้ก่อปัญหา แต่ในทางกลับกัน ภาคธุรกิจก็สามารถเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ ผ่านการร่วมมือเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาค

การบริโภคยึดจริยธรรม ตอน ข้อจำกัดของผู้บริโภค

/

คำว่าการบริโภคยึดจริยธรรม (ethical consumption) เริ่มได้รับการกล่าวถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคมไทย โดยเฉพาะเมื่อเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและสังคมที่รุนแรงระดับชาติหรือแม้แต่ระดับโลก ไม่ว่าจะเป็นการตัดป่าต้นน้ำ การประมงทำลายล้าง การใช้แรงงานทาสที่ได้รับการเผยแพร่ในสื่อกระแสหลักมากขึ้น จนเกิดคำถามว่าแท้จริงแล้วใครกันที่ต้องรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้น

BIOFIN: ผสานสองศาสตร์เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ

/

การลงทุน มูลค่า และการเงิน ดูจะเป็นคำที่อยู่ห่างไกลหรือแทบจะเป็นขั้วตรงข้ามของคำว่าการอนุรักษ์ หรือความหลากหลายทางชีวภาพ แต่ปัจจุบัน นักเศรษฐศาสตร์สามารถประเมินคุณค่านิเวศบริการให้เป็นตัวเงิน และมูลค่าดังกล่าวถือเป็นจุดตั้งต้นในการจัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษ์

อนาคตของพลังงานสะอาด: เมื่อยุโรปเลิกเป็นผู้นำ

/

ทันทีที่โลกเริ่มตระหนักถึงความเสี่ยงที่มิอาจหยั่งถึงจากการใช้ประโยชน์เชื้อเพลิงฟอสซิล และความเป็นไปได้อย่างมากที่ว่าความเสี่ยงเหล่านั้นจะกลายเป็นผลกระทบขึ้นมาจริงๆ สหภาพยุโรปเป็นกลุ่มประเทศแรกๆ ที่ก้าวออกมาเป็นผู้นำโลกไปสู่การเปลี่ยนผ่านด้วยการเริ่มต้นใช้ทรัพยากรพลังงานที่สะอาด อย่างไรก็ตาม จากรายงานการลงทุนด้านพลังงานหมุนเวียนปีล่าสุดได้ชี้ให้เห็นว่าสถานการณ์โลกได้เปลี่ยนไปจากเดิมมากแล้ว

หน้าที่ 10 จาก 15« First...89101112...Last »