Tag: ความยั่งยืน

ทำไม ‘ไฮโดรเจน’ จึงสำคัญต่อเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ

/

คงไม่ผิดนักหากจะเรียกไฮโดรเจนว่าเชื้อเพลิงมหัศจรรย์ เพราะการเผาไหม้โดยตรงของเชื้อเพลิงไฮโดรเจนนั้นไม่ปล่อยมลภาวะ ยิ่งถ้าอยู่ในรูปแบบของเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) ผลลัพธ์ของกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าก็คือน้ำจืด เทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงเกิดขึ้นมาหลายทศวรรษ โดยในอดีตไฮโดรเจนก็เคยได้รับการขนานนามว่าเป็น ‘พลังงานแห่งอนาคต’ แต่เมื่อไหร่ ‘อนาคต’ ที่ว่าจะมาถึงเสียที?

อุตสาหกรรมแร่หายากจะยั่งยืนได้อย่างไร?

/

ทั่วโลกต่างเห็นเป้าหมายเดียวกันคือความพยายามจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม การบรรลุเป้าหมายนั้นคือการทำทุกวิถีทางเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ แต่การเปลี่ยนผ่านดังกล่าวต้องพึ่งพาอุตสาหกรรมสำคัญนั่นคือแร่หายาก (rare earth elements) ซึ่งกระบวนการทำเหมือนสร้างผลกระทบทั้งทางสังคมและสิ่งแวดล้อมมหาศาล จึงนับเป็นโจทย์สำคัญว่าจะทำให้อุตสาหกรรมดังกล่าวยั่งยืนได้อย่างไร

วิกฤติโลกร้อนถูกมองข้าม เพราะสารพัดปัญหาเร่งด่วนในปัจจุบัน

/

ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมอาจซ้อนทับจนนำไปสู่การแย่งชิงทรัพยากรระหว่างประเทศในอนาคตไม่ว่าจะเป็นอาหาร น้ำสะอาด เชื้อเพลิง และแร่หายาก ที่ความต้องการมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตามจำนวนประชากรโลก แต่ในขณะเดียวกัน ทรัพยากรเหล่านั้นก็มีอยู่อย่างจำกัดและมีแนวโน้มผลิตได้น้อยลงเนื่องจากความขัดแย้งทางการเมืองและวิกฤติภูมิอากาศ ช่องว่างระหว่างอุปสงค์และอุปทานอาจนำไปสู่ ‘วิกฤติซ้อนวิกฤติ’ ที่ยากจะแก้ไข

รู้จัก ‘สิทธิที่จะซ่อม’ กระแสเรียกร้องที่ดีต่อโลกและดีต่อเรา

/

เป้าหมายของการเรียกร้องสิทธิที่จะซ่อมนั้นก็แสนจะตรงไปตรงมา คือต้องการให้บริษัทผู้ผลิตมีอะไหล่และเครื่องมือพร้อมจำหน่ายอยู่เสมอ เช่นเดียวกับเปิดเผยข้อมูลที่จำเป็นในการซ่อมแซมแก่ผู้บริโภคและร้านซ่อมแซมอิสระเพื่อไม่ให้ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ต้องไปจบชีวิตในกองขยะก่อนวันเวลาอันควร

การเข้าสู่ดัชนี DJSI คือจุดเริ่มต้นไม่ใช่ปลายทาง

/

แม้ว่าประเทศไทยจะยืดอกอย่างภูมิใจว่าเป็นประเทศที่มีบริษัทอยู่ในดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices) หรือ DJSI ซึ่งเป็นอันดับหนึ่งของอาเซียน บางคนตีความไปว่าบริษัทเหล่านั้นคือบริษัทที่บรรลุเป้าหมายด้าน ‘ความยั่งยืน’ แต่ความเข้าใจดังกล่าวนั้นผิดถนัด เพราะ DJSI เป็นวัด ‘โดยเปรียบเทียบ’ อีกทั้งยังโดนตั้งคำถามถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่นเดียวกับกรณีอื้อฉาวหลายต่อหลายครั้งที่สะท้อนให้เห็นว่าบริษัทใน DJSI อาจไม่ได้ยั่งยืนอย่างที่หลายคนคิด

จาก “สงครามอวกาศ” สู่ “ขยะอวกาศ”

/

เทคโนโลยียานอวกาศเริ่มต้นขึ้นในช่วงสงครามเย็น ที่เกิดความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารระหว่างสหรัฐฯอเมริกากับสหภาพโซเวียต ระหว่างปี ค.ศ. 1947 ถึง 1991 ซึ่งนอกจากการแข่งกันสร้างระเบิดนิวเคลียร์แล้ว สงครามแห่งเทคโนโลยีในอวกาศอย่างดาวเทียมโคจรรอบโลกที่เกินกว่าจินตนาการของมนุษย์ธรรมดาหลายๆ คน ก็ปรากฎขึ้น

เมื่อสีเขียวไม่ใช่แค่พื้นสนาม: บทบาทของกีฬาฟุตบอลสู่หนทางแห่งความยั่งยืน

/

ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่โลกกำลังเผชิญนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เริ่มตั้งแต่การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปัญหาจากสารไนโตรเจน รวมไปถึงความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศหรือสภาวะโลกร้อน (เวิร์คพอยท์ทูเดย์, 2562) ด้วยเหตุนี้หลายภาคส่วนทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล ประชาสังคม องค์กรไม่แสวงหากำไร และภาคธุรกิจจึงต่างพยายามผลักดันนโยบายและดำเนินการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น แม้แต่ธุรกิจฟุตบอลก็ขอเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่มีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาและกระตุ้นให้ผู้คนทั่วโลกหันมาสนใจเรื่องสิ่งแวดล้อม

หนทางสู่ความยั่งยืน: เศรษฐกิจหมุนเวียน การเปลี่ยนผ่าน และความท้าทาย

/

เมื่อเศรษฐกิจแนวตรงในปัจจุบันก่อให้เกิดวิกฤติทางสิ่งแวดล้อมมากมาย ระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ที่เรียกว่า “เศรษฐกิจหมุนเวียน” อาจเป็นกุญแจแก้ไขปัญหาเหล่านั้น แล้วหัวใจสำคัญของระบบนี้อยู่ตรงไหน ภาคธุรกิจในยุโรปทำอะไรไปแล้วบ้าง ไทยจะใช้ระบบนั้นได้หรือไม่ หาคำตอบได้ในบทความนี้

Infographic: เรื่องของดอกเบี้ย

/

การกู้เงินและการเป็นหนี้ไม่ใช่เรื่องผิด แต่การอ่านเงื่อนไขและรู้จัก #โลกของดอกเบี้ย แต่ละประเภท ทั้งที่มาและวิธีจ่ายหนี้ อาจเพิ่มตัวเลือกและเข้าใจวิธีบริหารหนี้สินได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

แก่นสารของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TEDxThammasatU 2017)

/

วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา คุณสฤณี อาชวานันทกุล กรรมการผู้จัดการด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จำกัด ได้เป็นหนึ่งในวิทยากรของงาน TEDxThammasatU 2017 โดยหัวข้อที่คุณสฤณีหยิบมาบอกเล่า คือเรื่องราวที่กลั่นกรองจากประสบการณ์ 4 ปีที่คลุกคลีกับประเด็นความยั่งยืนของภาคธุรกิจ และพบว่าการแก้ไขมิติใดมิติหนึ่งเพียงลำพัง ยากที่จะตอบโจทย์ความยั่งยืน

หน้าที่ 1 จาก 41234