ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2566
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2566 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2566 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2565 และสรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2564 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2563 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2562 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
สไลด์นำเสนอ ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2562 โดย สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการวิจัย โครงการ Fair Finance Thailand
สามปีแล้วหลังจากที่โครงการวิจัย “เหตุผลทางธุรกิจของการธนาคารที่ยั่งยืนในประเทศไทย” สรุป “เหตุผลทางธุรกิจ” หรือ business case ของการเข้าสู่วิถีการธนาคารที่ยั่งยืนของธนาคารพาณิชย์ไทย วันนี้ผู้เขียนอยากย้อนกลับไปสรุปเหตุผลทางธุรกิจสั้นๆ ของการทำธุรกิจธนาคารอย่างรับผิดชอบ และสรุปสั้นๆ ว่าสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศไทยเป็นอย่างไร ณ ต้นปี พ.ศ. 2562
ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล สังคมและสิ่งแวดล้อม กับระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงของธนาคาร (ESG Risks and Bank’s Risk Management System) โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ
ระหว่างปี พ.ศ. 2561-2565 บริษัท ป่าสาละ จำกัด ได้รับคัดเลือกให้ริเริ่มและดำเนินโครงการ “แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรม” ในประเทศไทย – Fair Finance Thailand โดยคาดว่าจะเริ่มเผยแพร่ผลการประเมินสถาบันการเงินสู่สาธารณะได้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2562 มาตรฐานชุดนี้มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพของนโยบายและการปฏิบัติของธนาคารภายใต้กรอบแนวคิดด้านความยั่งยืนในหัวข้อเฉพาะด้านและเผยแพร่คะแนนการประเมิน โดยองค์กรที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกแนวร่วมแนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมในแต่ละประเทศ สามารถใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินในการหารือและส่งอิทธิพลต่อหน่วยงานกำกับดูแลภาคธนาคาร ในการเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบการเงินที่เป็นธรรม
หลังจากศตวรรษที่ 21 เปิดฉากเพียงหนึ่งทศวรรษ เทคโนโลยีการเงิน หรือเรียกรวมๆ ว่า ‘ฟินเทค’ ซึ่งถูกขับดันด้วยการเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กำลังเปิดฉากมิติใหม่ของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินไปยังผู้มีรายได้น้อยทั่วโลกหลายล้านคน รวมทั้งคนจำนวนมากที่ไม่เคยแม้แต่จะคิดฝันว่าชีวิตนี้จะได้ใช้บริการทางการเงิน ส่งผลให้หลายคนคาดการณ์ว่าศตวรรษนี้จะเป็นยุค ‘ประชาธิปไตยทางการเงิน’ อย่างแท้จริง