ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2565 และสรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2565 และสรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2565 และสรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2564 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2563 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2562 โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
สไลด์นำเสนอ ผลการประเมินธนาคารพาณิชย์ไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี พ.ศ. 2562 โดย สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการวิจัย โครงการ Fair Finance Thailand
โรงแรมเป็นหนึ่งในธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงที่สุดบนเกาะสมุย ทั้งในแง่ของการขายห้องพักและการสรรหาพนักงาน แต่พีซรีสอร์ท (Peace Resort) ก็สามารถแข่งขันได้ดีโดยใช้ “สีเขียว” เป็นหนึ่งในจุดขาย เพื่อขับเคลื่อนงานด้านสิ่งแวดล้อม พีซรีสอร์ทจัดตั้ง Green Team ขึ้นเพื่อเป็นทีมเฉพาะหลักในการทำงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยประกอบไปด้วยพนักงานจากทุกแผนกรวมถึงแผนกทรัพยากรบุคคล เรื่องราวของงานด้านสิ่งแวดล้อมถูกสื่อสารสู่พนักงานใหม่ตั้งแต่ในวันปฐมนิเทศ และถูกบรรจุเป็นส่วนหนึ่งของกฎเกณฑ์ในการทำงาน
สามปีแล้วหลังจากที่โครงการวิจัย “เหตุผลทางธุรกิจของการธนาคารที่ยั่งยืนในประเทศไทย” สรุป “เหตุผลทางธุรกิจ” หรือ business case ของการเข้าสู่วิถีการธนาคารที่ยั่งยืนของธนาคารพาณิชย์ไทย วันนี้ผู้เขียนอยากย้อนกลับไปสรุปเหตุผลทางธุรกิจสั้นๆ ของการทำธุรกิจธนาคารอย่างรับผิดชอบ และสรุปสั้นๆ ว่าสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศไทยเป็นอย่างไร ณ ต้นปี พ.ศ. 2562
ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล สังคมและสิ่งแวดล้อม กับระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงของธนาคาร (ESG Risks and Bank’s Risk Management System) โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ
หลังจากศตวรรษที่ 21 เปิดฉากเพียงหนึ่งทศวรรษ เทคโนโลยีการเงิน หรือเรียกรวมๆ ว่า ‘ฟินเทค’ ซึ่งถูกขับดันด้วยการเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กำลังเปิดฉากมิติใหม่ของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินไปยังผู้มีรายได้น้อยทั่วโลกหลายล้านคน รวมทั้งคนจำนวนมากที่ไม่เคยแม้แต่จะคิดฝันว่าชีวิตนี้จะได้ใช้บริการทางการเงิน ส่งผลให้หลายคนคาดการณ์ว่าศตวรรษนี้จะเป็นยุค ‘ประชาธิปไตยทางการเงิน’ อย่างแท้จริง
การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology and Its Potential for Inclusive Economy)
โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ