สไลด์ประกอบการเสวนา “Sustainable Development Goals & Sustainable Business Trends 2016”
สไลด์ประกอบการบรรยาย “Sustainable Development Goals & Sustainable Business Trends 2016” โดย สฤณี อาชวานันทกุล ในงาน Thailand SDGs Forum #2
สไลด์ประกอบการบรรยาย “Sustainable Development Goals & Sustainable Business Trends 2016” โดย สฤณี อาชวานันทกุล ในงาน Thailand SDGs Forum #2
การดำเนินธุรกิจโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงของบริษัท หลายประเทศยังมีนโยบายปฏิเสธการรับซื้อสินค้าที่อาจมีวัตถุดิบปนเปื้อน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอีกด้วย ผลกระทบเชิงลบดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจในประเทศไทยไม่ควรละเลย และควรมีการร่วมกันคิดหาทางออกที่ยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
ปัจจุบัน โลกเผชิญความท้าทายและภัยคุกคามมากมายเกินกว่าที่ภาครัฐเพียงลำพังจะสามารถรับมือได้ ปัญหาเหล่านี้ภาคธุรกิจย่อมมีส่วนรับผิดชอบในฐานะผู้ก่อปัญหา แต่ในทางกลับกัน ภาคธุรกิจก็สามารถเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ ผ่านการร่วมมือเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาค
ปัญหาขยะอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานเป็นความจริงที่น่าขมขื่น เพราะประเทศที่ร่ำรวยใช้ชีวิตราวกับไม่มีผู้คนอดอยากบนโลก องค์กรไม่แสวงหากำไร Secondbite จึงถือกำเนิดขึ้น โดยในแต่ละปี Secondbite ได้ส่งอาหารสดใหม่และมีสารอาหารครบถ้วนกว่า 7 ล้านกิโลกรัม ไปบรรเทาความหิวโหยของประชาชนผู้ขาดแคลนทั่วออสเตรเลีย
ป่าสาละจัดงานเสวนา “ถอดบทเรียนธุรกิจเขียว…ไทย” ครั้งที่ 1 เมื่อ 15 ธันวาคม 2557 เพื่อร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากกรณีศึกษาบริษัทไทย 4 บริษัท 4 ธุรกิจ ที่ใช้ความ “เขียว” ทั้งในมิติ “นวัตกรรม” (innovation) และ “ผลิตภาพ” (productivity)เป็นหัวใจในการดำเนินธุรกิจ
ปัญหาของท้องทะเลไทยเป็นที่รับรู้และเกี่ยวพันถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่สามารถรอคอยความช่วยเหลือจากภาครัฐหรือใช้กฏหมายแก้ปัญหาเพียงมิติเดียวได้
สฤณี อาชวานันทกุล กรรมการผู้จัดการด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จำกัด ชวนเราท่องโลกธุรกิจแห่งคุณค่า ‘สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน’ บอกเล่าถึงสภาพปัญหาที่โลกกำลังเผชิญ แนวคิดเรื่องความยั่งยืนในฐานะทางออกของปัญหา และบทบาทของภาคธุรกิจในการสร้างความยั่งยืนและความเป็นธรรมแก่สังคม ผ่านกรณีศึกษาที่น่าสนใจทั่วโลก
จากกรณีศึกษาของ Starbucks ผู้นำตลาดกาแฟโลก และ GAR บริษัทน้ำมันปาล์มอันดับสองของโลก พบว่า การจะสร้างห่วงโซ่อุปทานแบบยั่งยืนให้เป็นจริงได้ ผู้ทำอาจจะต้องเปลี่ยนจากนโยบายเชิงรับมาเป็นนโยบายเชิงรุก
เราคงพอนึกภาพออกว่าการแข่งขันกีฬาทั้งรายการใหญ่ อย่างโอลิมปิก ฟุตบอลโลก หรือการแข่งขันกีฬาระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ส่งผลกระทบทั้งทางบวกและลบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างไร แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่าการจัดแข่งขันกีฬาเหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย โดยบางคนอาจจะนึกไม่ออกเลยด้วยซ้ำว่าสองเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันได้อย่างไร
“ความยั่งยืน” คืออะไร ทำไมต้องแคร์? ทุกวันนี้อะไรๆ ก็ต้อง “ยั่งยืน” การพัฒนาอย่างยั่งยืน ธุรกิจยั่งยืน พลังงานยั่งยืน เกษตรยั่งยืน ดีไซน์ยั่งยืน ชุมชนยั่งยืน ฯลฯ แต่ “ความยั่งยืน” คืออะไรแน่ เกี่ยวกับเราอย่างไร แล้วทำไมต้อง”ยั่งยืน” ด้วย