Knowledge
การบริโภคยึดจริยธรรมและสถานการณ์ในไทย
สไลด์ประกอบการนำเสนอ “การบริโภคยึดจริยธรรมและสถานการณ์ในไทย” งานเสวนา Thailand’s Ethical and Sustainable Business Forum, จัดโดย Oxfam, ป่าสาละ และ ChangeFusion, 15 มีนาคม 2559
งานสัมมนาการธนาคารที่ยั่งยืนในประเทศไทย (Sustainable Banking Thailand)
DIB Talk (Do It Better Talk) ครั้งที่ 3 – 28 พ.ย. 58
สไลด์ประกอบการเสวนา “ถอดบทเรียน ธุรกิจเขียว…ไทย ปีที่ 2″
สไลด์จากงานเสวนา “ถอดบทเรียน ธุรกิจเขียว…ไทย ปีที่ 2″ ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 จากกรณีศึกษาบริษัทไทย 4 บริษัท 4 ธุรกิจ ที่ใช้ความ “เขียว” ทั้งในมิติ “นวัตกรรม” (innovation) และ “ผลิตภาพ” (productivity) (ปัญญ์ปุริ เอสซีจีลำปาง เลมอนฟาร์มและอำพลฟูดส์) เป็นหัวใจในการดำเนินธุรกิจ รวมถึงสถานการณ์เชิงนโยบาย
กรณีศึกษาถอดบทเรียนธุรกิจเขียว…ไทย#8: อำพลฟูดส์
อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง ใส่นวัตกรรมเขียว แปลงขยะเป็นความยั่งยืน – บริษัทใช้นวัตกรรมเขียวต่างๆ มากมายสามารถช่วยเปลี่ยนของเสียที่บริษัทเคยมองว่าเป็นขยะให้กลายเป็นความยั่งยืนได้ ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและปัญหากับชุมชนรอบๆ โรงงานแล้ว และยังช่วยเพิ่มยอดขายและกำไรให้กับบริษัทได้อีกด้วย จนกลายเป็นวิถีการทำธุรกิจที่ยั่งยืนสไตล์อำพลฟูดส์ที่น่าศึกษา
กรณีศึกษาถอดบทเรียนธุรกิจเขียว…ไทย#7: ปัญญ์ปุริ
ปัญญ์ปุริ ก้าวข้ามจุดขายความเป็นธรรมชาติ สู่ออร์แกนิค – ปัญญ์ปุริ เลือกชูจุดขายการดูแลร่างกายและจิตใจตามปรัชญาตะวันออก โดยมีส่วนผสมจากธรรมชาติเป็นจุดขายแรก ก่อนที่จะขยับขึ้นไปเป็นส่วนผสมจากพืชพรรณที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์หรือออร์แกนิค ซึ่งมีส่วนสำคัญที่ทำให้แบรนด์แตกต่างอย่างโดดเด่นทั้งในตลาดไทยและตลาดโลก
กรณีศึกษาถอดบทเรียนธุรกิจเขียว…ไทย#6: เลมอนฟาร์ม
เลมอนฟาร์ม วิถีเกษตรอินทรีย์ เพื่อสุขภาพและความยั่งยืน – ธุรกิจค้าปลีกที่เชื่อมโยงเกษตรกรและผู้บริโภคที่ใส่ใจกับเรื่องความยั่งยืนในทุกมิติเข้าไว้ด้วยกัน ทั้งสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีวิถีเกษตรอินทรีย์เป็นแกนนำด้านการตลาด
กรณีศึกษาถอดบทเรียนธุรกิจเขียว…ไทย#5: เอสซีจี ลำปาง
ปูนลำปาง Semi-open cut mining ก้าวไกลด้วยนวัตกรรมสีเขียวต้นแบบ – ผู้ผลิตปูนซีเมนต์รายแรกและรายใหญ่ของประเทศไทยผู้คิดหานวัตกรรมการทำเหมืองรูปแบบใหม่เพื่อมุ่งสู่การทำธุรกิจอย่างยั่งยืน และเกือบ 20 ปีแล้วที่การทำเหมืองแบบ semi-open cut mining method ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไม่ใช่ขั้วตรงข้ามกับการทำธุรกิจอย่างยั่งยืนแต่อย่างใด
B Talk ครั้งที่ 5 Why EIA Matters?
EIA: กีดขวางหรือส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน? ปัจจุบันโรงไฟฟ้า เขื่อน และโครงการก่อสร้างของธุรกิจมากมายต้องจัดทำการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) EIA สำคัญอย่างไร ไม่มีได้ไหม ปัญหาของกระบวนการ EIA วันนี้คือะไร