
Blog


4 Steps สร้าง SME ที่ยั่งยืน กับประสบการณ์จาก 9 ธุรกิจ

อัปไซเคิลสินค้า ใส่ใจค่าแรงขั้นต่ำ แนวทางที่สิทธิมนุษยชนและความยั่งยืนเกิดได้จริงในโลกธุรกิจ

ไม่ใช่ทางเลือก แต่คือความจำเป็น ทำไมธุรกิจต้องใส่ใจสิทธิมนุษยชน

ปัญญาประดิษฐ์กับงานวิจัย…ใช้/ไม่ใช้ อย่างไรดี

เทคโนโลยีบล็อกเชน กับการจัดการข้อมูลในห่วงโซ่อุปทาน
หลาย ๆ คนคงเคยได้ยินคำว่า “บล็อกเชน” ผ่านหูกันมาบ้าง จากอิทธิพลของกระแสการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลที่มาแรงในหมู่นักลงทุนรุ่นใหม่ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีบล็อกเชนนั้นมีประโยชน์มากกว่าที่เราทุกคนคิด โดยในปัจจุบัน หลายประเทศในทวีปยุโรปได้เริ่มนำเทคโนโลยีบล็อกเชนมาประยุกต์ใช้ในการจัดการกับปัญหาด้านความยั่งยืน บทความนี้จะนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีบล็อกเชนไปใช้ขับเคลื่อนแนวทางปฏิบัติเพื่อรับมือกับปัญหาด้านความยั่งยืนว่าทำได้อย่างไร

มีอะไรน่าสนใจในรายงานความเสี่ยงของโลกปี 2567

ไขศักยภาพพลังงานหมุนเวียนด้วยนวัตกรรมทางการเงิน
หากมองในมุมของสถาบันการเงินขนาดใหญ่ ต้นทุนในการทำธุรกรรมปล่อยสินเชื่อโครงการพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กนั้นไม่คุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายแถมยังใช้เวลาคืนทุนที่ยาวนาน โครงการเช่นนี้จึงจัดเป็นโครงการประเภทที่มีความเสี่ยงสูงและผลตอบแทนต่ำอย่างยิ่ง เหล่านายธนาคารจึงมองหาทางเลือกอื่นที่ผลตอบแทนดีกว่า

ทำไม ‘ไฮโดรเจน’ จึงสำคัญต่อเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ
คงไม่ผิดนักหากจะเรียกไฮโดรเจนว่าเชื้อเพลิงมหัศจรรย์ เพราะการเผาไหม้โดยตรงของเชื้อเพลิงไฮโดรเจนนั้นไม่ปล่อยมลภาวะ ยิ่งถ้าอยู่ในรูปแบบของเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) ผลลัพธ์ของกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าก็คือน้ำจืด เทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิงเกิดขึ้นมาหลายทศวรรษ โดยในอดีตไฮโดรเจนก็เคยได้รับการขนานนามว่าเป็น ‘พลังงานแห่งอนาคต’ แต่เมื่อไหร่ ‘อนาคต’ ที่ว่าจะมาถึงเสียที?

อุตสาหกรรมแร่หายากจะยั่งยืนได้อย่างไร?
ทั่วโลกต่างเห็นเป้าหมายเดียวกันคือความพยายามจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม การบรรลุเป้าหมายนั้นคือการทำทุกวิถีทางเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ แต่การเปลี่ยนผ่านดังกล่าวต้องพึ่งพาอุตสาหกรรมสำคัญนั่นคือแร่หายาก (rare earth elements) ซึ่งกระบวนการทำเหมือนสร้างผลกระทบทั้งทางสังคมและสิ่งแวดล้อมมหาศาล จึงนับเป็นโจทย์สำคัญว่าจะทำให้อุตสาหกรรมดังกล่าวยั่งยืนได้อย่างไร