Tag: สิทธิมนุษยชน

รถเมล์ร้อนจงหมดไป: การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากอากาศที่ร้อนจัด

/

บนท้องถนนในกรุงเทพมหานครเต็มไปด้วยยวดยานพาหนะนานาชนิด ทั้งรถยนต์ส่วนบุคคล แท็กซี่ รถสามล้อ จักรยานยนต์ จักรยาน ตลอดจนรถเมล์ หนึ่งในขนส่งสาธารณะที่มักถูกพูดถึงและเป็นที่ถกเถียงอย่างมากโดยเฉพาะประเด็นเรื่องคุณภาพและการพัฒนา ไล่ตั้งแต่สภาพรถ คุณภาพการบริการของพนักงาน หรือการคาดเดาไม่ได้ของตารางการเดินรถ

โครงการวิจัย “สำรวจความพร้อมของบริษัทในประเทศไทย ในการดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน”

/

ในเดือนกรกฎาคม 2565 บริษัท ป่าสาละ จำกัด ได้รับการว่าจ้างจาก UNDP ประเทศไทย เพื่อสำรวจความพร้อมของบริษัทไทย ทั้งบริษัทขนาดใหญ่และ SMEs ในการดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน โดยข้อมูลจากการสำรวจครั้งนี้ คณะวิจัยจะนำไปใช้ประกอบการประเมินความพร้อมของบริษัทไทยในการดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน ตลอดจนการจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในการเตรียมความพร้อมให้บริษัทไทยสามารถดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านได้อย่างกว้างขวางและยั่งยืน

คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) สำหรับภาคธุรกิจ

/

คู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) ของธุรกิจการโรงแรม และรายการตรวจสอบ (Checklist) ที่่เกี่ยวข้อง โดยทีมวิจัย บริษัท ป่าสาละ จำกัด

รายงาน “การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)”

/

รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence) โดยทีมวิจัย บริษัท ป่าสาละ จำกัด

โครงการวิจัย “การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)”

/

โครงการวิจัยระยะเวลา 4 เดือน มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำ 1) รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)” 2) คู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนของธุรกิจการโรงแรมอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) และ 3) รายการตรวจสอบ (checklist) ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นคู่มือในการตรวจสอบและประเมินสถานะขององค์กรในด้านสิทธิมนุษยชนของธุรกิจด้านการโรงแรม

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์: บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน

/

รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน โดย สฤณี อาชวานันทกุล ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2559

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์: มาตรฐานสากลในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน

/

รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง มาตรฐานสากลในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน โดย สฤณี อาชวานันทกุล ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2559

โครงการวิจัย “มาตรฐานการเคารพสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน”

/

เมื่อพิจารณาสถานการณ์ของภาคธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ธุรกิจมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขณะเดียวกันการดำเนินธุรกิจหลายประเภทมีลักษณะข้ามพรมแดน ซึ่งสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งที่นานาประเทศให้ความสำคัญ ดังนั้น การปฏิบัติตามมาตรฐานสากลต่างๆ อย่างแท้จริงในมิติของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน จึงเป็นประโยชน์ต่อทั้งภาคธุรกิจเองและต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในประเทศต่างๆ เช่นกัน

โครงการวิจัย “บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อการคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน”

/

ปัจจุบัน แนวทางการทำงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คือ การเข้าไปตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ที่เป็นผลกระทบจากการใช้อำนาจของ “รัฐ” เป็นสำคัญ แต่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ปัจจุบัน ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมนั้น ไม่ได้เกิดเฉพาะแต่กรณีการใช้อำนาจรัฐเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นภายในและโดยภาคธุรกิจอีกด้วย

วิทยากรร่วมเสวนา "ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืนในไทย"

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (2) : แนวโน้มในประเทศไทย

/

การดำเนินธุรกิจโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงของบริษัท หลายประเทศยังมีนโยบายปฏิเสธการรับซื้อสินค้าที่อาจมีวัตถุดิบปนเปื้อน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอีกด้วย ผลกระทบเชิงลบดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจในประเทศไทยไม่ควรละเลย และควรมีการร่วมกันคิดหาทางออกที่ยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

หน้าที่ 1 จาก 212