Knowledge

“การเงินปฏิวัติ” โดย สฤณี อาชวานันทกุล

/

ชวนมาอุ่นเครื่องเรื่องธนาคารที่ยังยืน กับหนังสือ “การเงินปฏิวัติ” เขียนโดย สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการ ว่าด้วย “จุดเปลี่ยน” และ “การปรับตัว” ครั้งใหญ่ของวงการธนาคารโลก เมื่อสหรัฐอเมริกาเผชิญกับวิกฤตแฮมเบอร์เกอร และนิยามของ การเงินที่ยั่งยืน การเงินเพื่อสังคม และการเงินชุมชน

โครงการวิจัย “การจัดทำและเผยแพร่ชุดงานวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนา ‘การธนาคารที่ยั่งยืน'”

/

บริษัท ป่าสาละ จำกัด ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิมั่นพัฒนา ให้ดำเนินโครงการวิจัย “”การจัดทำและเผยแพร่ชุดงานวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนา “การธนาคารที่ยั่งยืน””” ระยะเวลา 36 เดือน จุดมุ่งหมายสำคัญของโครงการนี้จะมุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้และการเผยแพร่องค์ความรู้ที่สังเคราะห์ได้จากการวิเคราะห์/การวิจัยในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนากระบวนการสร้างการธนาคารที่ยั่งยืนเป็นหลัก โดยมุ่งหวังผลต่อเนื่องว่าหากเกิดชุดองค์ความรู้ มีการแลกเปลี่ยนถกเถียงในเวทีสาธารณะต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นการธนาคารที่ยั่งยืน จะเป็นประโยชน์ในการก่อให้เกิดแรงผลักดัน การสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง และเครือข่ายที่สนับสนุนวิถีการธนาคารที่ยั่งยืนในประเทศไทยต่อไป

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์: บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน

/

รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน โดย สฤณี อาชวานันทกุล ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2559

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์: มาตรฐานสากลในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน

/

รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง มาตรฐานสากลในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน โดย สฤณี อาชวานันทกุล ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2559

สไลด์นำเสนอ “ทำธุรกิจ ทำไมต้องใส่ใจ ‘สิทธิ’ ?”

/
ยุคนี้ใครๆ ก็พูดถึง ‘สิทธิมนุษยชน’ และบริษัทบางแห่งก็ดูจะตกเป็นที่ครหาอยู่เนืองๆ ในเรื่องการ ‘ละเมิด’ สิทธิมนุษยชน ทั้งการเอาเปรียบแรงงานข้ามชาติ แรงงานทาสสมัยใหม่ รวมไปถึงข้อพิพาทว่าด้วยสิทธิชุมชน สิทธิชนพื้นเมือง...

โครงการวิจัย “มาตรฐานการเคารพสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน”

/

เมื่อพิจารณาสถานการณ์ของภาคธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ธุรกิจมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขณะเดียวกันการดำเนินธุรกิจหลายประเภทมีลักษณะข้ามพรมแดน ซึ่งสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งที่นานาประเทศให้ความสำคัญ ดังนั้น การปฏิบัติตามมาตรฐานสากลต่างๆ อย่างแท้จริงในมิติของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน จึงเป็นประโยชน์ต่อทั้งภาคธุรกิจเองและต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในประเทศต่างๆ เช่นกัน

โครงการวิจัย “บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อการคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน”

/

ปัจจุบัน แนวทางการทำงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คือ การเข้าไปตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ที่เป็นผลกระทบจากการใช้อำนาจของ “รัฐ” เป็นสำคัญ แต่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ปัจจุบัน ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมนั้น ไม่ได้เกิดเฉพาะแต่กรณีการใช้อำนาจรัฐเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นภายในและโดยภาคธุรกิจอีกด้วย

B Talk ครั้งที่ 7 Business: human rights defender?

/

ทำธุรกิจ ทำไมต้องใส่ใจ ‘สิทธิ’ ? ยุคนี้ใครๆ ก็พูดถึง ‘สิทธิมนุษยชน’ และบริษัทบางแห่งก็ดูจะตกเป็นที่ครหาอยู่เนืองๆ ในเรื่องการ ‘ละเมิด’ สิทธิมนุษยชน แต่ ธุรกิจเกี่ยวอะไรกับสิทธิ อะไรใช่และไม่ใช่ ‘สิทธิมนุษยชน’ หน้าที่และขอบเขตของธุรกิจในฐานะ ‘นักพิทักษ์สิทธิ’ มีอะไรบ้าง

งานเสวนา “มองอนาคตพลังงานไทย – เราควรถกกันเรื่องอะไร?” และเปิดตัวหนังสือ “มายาคติพลังงาน”

/

งานเสวนาในครั้งนี้ คือการร่วมมือกันหลายภาคส่วน ทั้งผู้เชี่ยวชาญในระดับประเทศ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ความท้าทาย พร้อมกับพูดคุยถกเถียงในประเด็นพลังงานที่ยั่งยืนในสังคมไทย

B Talk ครั้งที่ 6 Social Enterprise: FAQs

/

ปัจจุบันคำว่ากิจการเพื่อสังคมได้รับความสนใจจากทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จนใครๆ ก็พยายามติดป้ายว่าตัวเองเป็น ‘กิจการเพื่อสังคม’ แต่หัวใจของกิจการเพื่อสังคมคืออะไร แตกต่างจาก CSR หรือไม่ และกิจการเพื่อสังคมจะยั่งยืนได้อย่างไร หาคำตอบในคลิปงานเสวนา

หน้าที่ 8 จาก 13« First...678910...Last »