Knowledge

ภาคผนวก รายงานการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม กิจการเพื่อสังคม 6 แห่ง

/

ภาคผนวก รายงานการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม กิจการเพื่อสังคม 6 แห่ง สนับสนุนทุนวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงานวิจัย “โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมสำหรับกิจการเพื่อสังคม”

/

รายงานวิจัย “โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมสำหรับกิจการเพื่อสังคม” สนับสนุนทุนวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมสำหรับกิจการเพื่อสังคม และจัดทำกรณีศึกษานำร่อง

/

โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ เครื่องมือ และระบบวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม เพื่อพัฒนาชุดงานวิจัยที่มีความจำเป็นเร่งด่วนในเชิงนโยบายและในเชิงการสนับสนุนการดำเนินงานของกิจการเพื่อสังคม ขณะเดียวกันก็มุ่งเป้าที่การพัฒนาเครือข่ายนักวิจัยที่สนใจและวางระบบกลไกการจัดการวิจัยด้านกิจการเพื่อสังคมเพื่อสร้างความยั่งยืน ผ่านการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมกำหนดโจทย์ การผลิตทรัพยากรบุคคลด้านวิจัยที่มีคุณภาพ และการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการวิจัย เพื่อนำไปสู่การขยายผลในระยะยาวต่อไป

สรุปผลการวิจัย เรื่อง “การเติบโตของ FinTech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง”

/

หลังจากศตวรรษที่ 21 เปิดฉากเพียงหนึ่งทศวรรษ เทคโนโลยีการเงิน หรือเรียกรวมๆ ว่า ‘ฟินเทค’ ซึ่งถูกขับดันด้วยการเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กำลังเปิดฉากมิติใหม่ของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินไปยังผู้มีรายได้น้อยทั่วโลกหลายล้านคน รวมทั้งคนจำนวนมากที่ไม่เคยแม้แต่จะคิดฝันว่าชีวิตนี้จะได้ใช้บริการทางการเงิน ส่งผลให้หลายคนคาดการณ์ว่าศตวรรษนี้จะเป็นยุค ‘ประชาธิปไตยทางการเงิน’ อย่างแท้จริง

รายงาน “การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง”

/

การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology and Its Potential for Inclusive Economy)
โดย สฤณี อาชวานันทกุล และคณะ

งานวิจัย “การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง”

/

สรุปรายงานวิจัย เรื่อง การเติบโตของ Fintech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง (The Growth of Financial Technology
and Its Potential for Inclusive Economy) โดย สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จำกัด, สิงหาคม 2560 | รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “การจัดทำและเผยแพร่ชุดงานวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนา “การธนาคารที่ยั่งยืน”” สนับสนุนโดย มูลนิธิมั่นพัฒนา

วรรณกรรมปริทัศน์ “แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน”

/

วรรณกรรมปริทัศน์ “แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “รางวัลองค์กรที่น่าทำงานด้วยที่สุดภายใต้แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

โครงการวิจัย “รางวัลองค์กรที่น่าทำงานด้วยที่สุดภายใต้แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน”

/

ในบรรดาผู้มีส่วนได้เสียของธุรกิจ พนักงานซึ่งเป็นกำลังหลักในการดำเนินธุรกิจ เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่กำลังได้รับการพูดถึงและบริษัทมองเห็นความสำคัญมากขึ้นในการมุ่งสู่ธุรกิจที่ยั่งยืน “การบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างยั่งยืน” โดยเฉพาะในแง่ของการดูแลเอาใจใส่พนักงาน การพัฒนามนุษย์ และสร้างสถานทำงานที่ “น่าทำ” นับเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในเกณฑ์การรายงานและติดตามตรวจสอบระดับความยั่งยืนของธุรกิจ

สไลด์นำเสนอ ผลการศึกษาโครงการวิจัย “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับ”

/

สไลด์ประกอบการแถลงผลการศึกษาโครงการวิจัย “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับ” โดย สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการ บริษัท ป่าสาละ จำกัด, วันที่ 4 เมษายน 2560 โรงแรม Crowne Plaza Lumpini

เอกสารสรุปสาระสำคัญ ผลการศึกษาโครงการวิจัย “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับ”

/

เอกสารสรุปสาระสำคัญ ผลการศึกษาโครงการวิจัย “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับ” สนับสนุนทุนวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

หน้าที่ 6 จาก 12« First...45678...Last »