Blog

มูลค่าตลาดของบริษัทใหญ่ เทียบกับมูลค่าตลาดหุ้นทั้งตลาดของบางประเทศ ที่มา: http://www.economist.com/news/finance-and-economics/21594476-scarce

สามปัจจัยกำหนดจุดพลิกผันทางวัฒนธรรม (cultural shift) สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน

/

ผู้เขียนเห็นว่า จะต้องมีสามปัจจัยต่อไปนี้ในระดับ “พัฒนาการ” ที่ก้าวหน้ามากพอ จึงจะเกิด “cultural shift” หรือ “การเปลี่ยนผ่านเชิงวัฒนธรรม” สู่ “ธุรกิจที่ยั่งยืน” ในสังคมไทยได้ : ธรรมาภิบาลแบบประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง ความโปร่งใสขั้นสุดขั้วของภาคธุรกิจ และการปรับค่านิยมของสังคมให้สอดคล้องกับจริยธรรมสากล

วิทยากรร่วมเสวนา "ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืนในไทย"

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (2) : แนวโน้มในประเทศไทย

/

การดำเนินธุรกิจโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงของบริษัท หลายประเทศยังมีนโยบายปฏิเสธการรับซื้อสินค้าที่อาจมีวัตถุดิบปนเปื้อน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอีกด้วย ผลกระทบเชิงลบดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจในประเทศไทยไม่ควรละเลย และควรมีการร่วมกันคิดหาทางออกที่ยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (1) : ภาพรวมจากบริบทโลก

/

ปัจจุบัน โลกเผชิญความท้าทายและภัยคุกคามมากมายเกินกว่าที่ภาครัฐเพียงลำพังจะสามารถรับมือได้ ปัญหาเหล่านี้ภาคธุรกิจย่อมมีส่วนรับผิดชอบในฐานะผู้ก่อปัญหา แต่ในทางกลับกัน ภาคธุรกิจก็สามารถเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ ผ่านการร่วมมือเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาค

การบริโภคยึดจริยธรรม ตอน ข้อจำกัดของผู้บริโภค

/

คำว่าการบริโภคยึดจริยธรรม (ethical consumption) เริ่มได้รับการกล่าวถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคมไทย โดยเฉพาะเมื่อเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและสังคมที่รุนแรงระดับชาติหรือแม้แต่ระดับโลก ไม่ว่าจะเป็นการตัดป่าต้นน้ำ การประมงทำลายล้าง การใช้แรงงานทาสที่ได้รับการเผยแพร่ในสื่อกระแสหลักมากขึ้น จนเกิดคำถามว่าแท้จริงแล้วใครกันที่ต้องรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้น

BIOFIN: ผสานสองศาสตร์เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ

/

การลงทุน มูลค่า และการเงิน ดูจะเป็นคำที่อยู่ห่างไกลหรือแทบจะเป็นขั้วตรงข้ามของคำว่าการอนุรักษ์ หรือความหลากหลายทางชีวภาพ แต่ปัจจุบัน นักเศรษฐศาสตร์สามารถประเมินคุณค่านิเวศบริการให้เป็นตัวเงิน และมูลค่าดังกล่าวถือเป็นจุดตั้งต้นในการจัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษ์

อนาคตของพลังงานสะอาด: เมื่อยุโรปเลิกเป็นผู้นำ

/

ทันทีที่โลกเริ่มตระหนักถึงความเสี่ยงที่มิอาจหยั่งถึงจากการใช้ประโยชน์เชื้อเพลิงฟอสซิล และความเป็นไปได้อย่างมากที่ว่าความเสี่ยงเหล่านั้นจะกลายเป็นผลกระทบขึ้นมาจริงๆ สหภาพยุโรปเป็นกลุ่มประเทศแรกๆ ที่ก้าวออกมาเป็นผู้นำโลกไปสู่การเปลี่ยนผ่านด้วยการเริ่มต้นใช้ทรัพยากรพลังงานที่สะอาด อย่างไรก็ตาม จากรายงานการลงทุนด้านพลังงานหมุนเวียนปีล่าสุดได้ชี้ให้เห็นว่าสถานการณ์โลกได้เปลี่ยนไปจากเดิมมากแล้ว

ความยั่งยืน (ฉบับย่นย่อ) – ว่าด้วยทุนนิยม สังคม สิ่งแวดล้อม และธุรกิจสมัยใหม่

/

ในแต่ละวัน คุณได้เห็นหรือได้ยินคำว่า “ความยั่งยืน” กี่ครั้ง แล้วเราเข้าใจความหมายของ “ความยั่งยืน” ถูกต้องแล้วหรือยัง ป่าสาละชวนมาคุยกับสองผู้ก่อตั้งบริษัทป่าสาละ สฤณี อาชวานันทกุล และภัทราพร แย้มละออ เพื่อคลายข้อสงสัยในประเด็นด้านความยั่งยืน

ข้อตกลงปารีส: สู่แสงสว่างหรือทางตัน ?

/

ข้อตกลงปารีส (The Paris Agreement) ผลลัพธ์ของการประชุม COP21 ที่ฝ่ายการเมือง กล่าวว่า “เปรียบเสมือนก้าวที่ยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ” ขณะที่องค์กรภาคเอกชนและนักวิชาการมองว่าผลลัพธ์ดังกล่าว “น่าผิดหวัง และไม่ต่างจากการหลอกลวง” ทำไมมุมมองจากสองฝั่งถึงแตกต่างกันอย่างสุดขั้ว อ่านรายละเอียดได้ในบทความ

Interface กับกลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน

/

Interface เป็นบทพิสูจน์สำคัญของนักธุรกิจที่ยังคงตั้งคำถามถึงมูลค่าเพิ่มจากกลยุทธ์ที่ยั่งยืน รวมทั้งทำลายกรอบความเชื่อที่ว่าอุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบปิโตรเคมีอย่างพรมไม่มีทางยั่งยืนได้ และยังเป็นบทเรียนสำคัญว่าความยั่งยืนสร้างได้ แต่ต้องมีความทุ่มเทที่จะสร้างอย่างต่อเนื่องและจริงจัง

ร่วมรักและร่วมสร้างคุณค่าให้สังคม…ด้วยถุงยางอนามัย

/

การร่วมมือกันครั้งนี้ ทำให้สวิงมีถุงยางอนามัยไปทำกิจกรรมและสร้างผลลัพธ์ทางสังคม โดยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคจากเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเพื่อนพนักงานบริการชาย ส่วนบริษัทก็ได้ศึกษาลูกค้ากลุ่มใหม่ รวมถึงได้นำข้อมูลจากการวิจัยตลาดของลูกค้ากลุ่มนี้ ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างความได้เปรียบให้กับบริษัทได้ ทุกฝ่ายจึงได้ประโยชน์ไปพร้อมๆ กัน

หน้าที่ 10 จาก 14« First...89101112...Last »