
Tag: Oxfam


รายงานวิจัย “Reviewing Human Rights Disclosure of Leading Companies in Asia”

เสวนา “Promoting Responsible Supply Chain”

เสวนา “Human Rights Trends and Challenges in Food Supply Chain in Asia”

4 Steps สร้าง SME ที่ยั่งยืน กับประสบการณ์จาก 9 ธุรกิจ

อัปไซเคิลสินค้า ใส่ใจค่าแรงขั้นต่ำ แนวทางที่สิทธิมนุษยชนและความยั่งยืนเกิดได้จริงในโลกธุรกิจ

ไม่ใช่ทางเลือก แต่คือความจำเป็น ทำไมธุรกิจต้องใส่ใจสิทธิมนุษยชน

สามปัจจัยกำหนดจุดพลิกผันทางวัฒนธรรม (cultural shift) สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน
ผู้เขียนเห็นว่า จะต้องมีสามปัจจัยต่อไปนี้ในระดับ “พัฒนาการ” ที่ก้าวหน้ามากพอ จึงจะเกิด “cultural shift” หรือ “การเปลี่ยนผ่านเชิงวัฒนธรรม” สู่ “ธุรกิจที่ยั่งยืน” ในสังคมไทยได้ : ธรรมาภิบาลแบบประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง ความโปร่งใสขั้นสุดขั้วของภาคธุรกิจ และการปรับค่านิยมของสังคมให้สอดคล้องกับจริยธรรมสากล

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (2) : แนวโน้มในประเทศไทย
การดำเนินธุรกิจโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงของบริษัท หลายประเทศยังมีนโยบายปฏิเสธการรับซื้อสินค้าที่อาจมีวัตถุดิบปนเปื้อน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอีกด้วย ผลกระทบเชิงลบดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจในประเทศไทยไม่ควรละเลย และควรมีการร่วมกันคิดหาทางออกที่ยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (1) : ภาพรวมจากบริบทโลก
ปัจจุบัน โลกเผชิญความท้าทายและภัยคุกคามมากมายเกินกว่าที่ภาครัฐเพียงลำพังจะสามารถรับมือได้ ปัญหาเหล่านี้ภาคธุรกิจย่อมมีส่วนรับผิดชอบในฐานะผู้ก่อปัญหา แต่ในทางกลับกัน ภาคธุรกิจก็สามารถเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ ผ่านการร่วมมือเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาค