Tag: ผู้มีส่วนได้เสีย

วิทยากรร่วมเสวนา "ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืนในไทย"

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (2) : แนวโน้มในประเทศไทย

/

การดำเนินธุรกิจโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงของบริษัท หลายประเทศยังมีนโยบายปฏิเสธการรับซื้อสินค้าที่อาจมีวัตถุดิบปนเปื้อน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใช้ทรัพยากรอย่างไม่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอีกด้วย ผลกระทบเชิงลบดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่ภาคธุรกิจในประเทศไทยไม่ควรละเลย และควรมีการร่วมกันคิดหาทางออกที่ยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

ธุรกิจยึดจริยธรรมและธุรกิจที่ยั่งยืน (1) : ภาพรวมจากบริบทโลก

/

ปัจจุบัน โลกเผชิญความท้าทายและภัยคุกคามมากมายเกินกว่าที่ภาครัฐเพียงลำพังจะสามารถรับมือได้ ปัญหาเหล่านี้ภาคธุรกิจย่อมมีส่วนรับผิดชอบในฐานะผู้ก่อปัญหา แต่ในทางกลับกัน ภาคธุรกิจก็สามารถเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ ผ่านการร่วมมือเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาค

ความยั่งยืน (ฉบับย่นย่อ) – ว่าด้วยทุนนิยม สังคม สิ่งแวดล้อม และธุรกิจสมัยใหม่

/

ในแต่ละวัน คุณได้เห็นหรือได้ยินคำว่า “ความยั่งยืน” กี่ครั้ง แล้วเราเข้าใจความหมายของ “ความยั่งยืน” ถูกต้องแล้วหรือยัง ป่าสาละชวนมาคุยกับสองผู้ก่อตั้งบริษัทป่าสาละ สฤณี อาชวานันทกุล และภัทราพร แย้มละออ เพื่อคลายข้อสงสัยในประเด็นด้านความยั่งยืน

วิกฤตสีฟ้า (1) : ว่าด้วย น้ำ – อาหาร – พลังงาน

/

หากได้เคยเห็นภาพดวงดาวสีฟ้าท่ามกลางอวกาศสีดำมืด คงจะเข้าใจได้ไม่ยากว่าพื้นผิวโลกกว่าร้อยละ 70 ปกคลุมไปด้วยน้ำ ด้วยปริมาณที่มีมากมายมหาศาล หลายคนคงเคยร่ำเรียนว่าน้ำเป็นสินค้าไร้ราคา (Free Goods) ที่สามารถใช้ได้อย่างไม่จำกัด แต่แนวคิดดังกล่าวอาจจะกลายเป็นเรื่องล้าหลังไปแล้ว เพราะในปัจจุบันการขาดแคลนน้ำจนถึงระดับวิกฤตเป็นความเสี่ยงอันดับต้นๆ ที่ทั่วโลกเป็นกังวล

มายาคติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประเด็นท้าทายธุรกิจในทศวรรษต่อไป

/

ปัจจุบันเราได้เห็นการอบรมสัมมนา แนะแนวทางการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจำนวนมาก ที่เน้นย้ำถึงประโยชน์ด้านการสร้าง License to Operate ซึ่งหมายถึงการที่สังคมและชุมชนในพื้นที่ยอมรับที่จะให้บริษัทเข้ามาประกอบธุรกิจโดยไม่คัดค้าน นอกจากนี้ยังรวมถึงการลดความเสี่ยง การสร้างภาพลักษณ์ชื่อเสียงที่ดี การสร้างแบรนด์ ไปจนถึงการสร้าง “คุณค่า” จากการนำประเด็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ให้กับองค์กร แต่ความเป็นจริงที่ปรากฏในสังคมกลับทำให้หลายฝ่ายตั้งคำถามถึงการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แท้จริงของบริษัทต่างๆ

หน้าที่ 1 จาก 11