Tag: human rights due diligence

รายงานวิจัย “การสำรวจความพร้อมของบริษัทในประเทศไทยในการดำเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน”

/

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ “การสำรวจความพร้อมของบริษัทในประเทศไทยในการดำเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน” นำเสนอโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP)

โครงการวิจัย “สำรวจความพร้อมของบริษัทในประเทศไทย ในการดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน”

/

ในเดือนกรกฎาคม 2565 บริษัท ป่าสาละ จำกัด ได้รับการว่าจ้างจาก UNDP ประเทศไทย เพื่อสำรวจความพร้อมของบริษัทไทย ทั้งบริษัทขนาดใหญ่และ SMEs ในการดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน โดยข้อมูลจากการสำรวจครั้งนี้ คณะวิจัยจะนำไปใช้ประกอบการประเมินความพร้อมของบริษัทไทยในการดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน ตลอดจนการจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในการเตรียมความพร้อมให้บริษัทไทยสามารถดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านได้อย่างกว้างขวางและยั่งยืน

คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) สำหรับภาคธุรกิจ

/

คู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) ของธุรกิจการโรงแรม และรายการตรวจสอบ (Checklist) ที่่เกี่ยวข้อง โดยทีมวิจัย บริษัท ป่าสาละ จำกัด

รายงาน “การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)”

/

รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence) โดยทีมวิจัย บริษัท ป่าสาละ จำกัด

โครงการวิจัย “การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)”

/

โครงการวิจัยระยะเวลา 4 เดือน มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำ 1) รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)” 2) คู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนของธุรกิจการโรงแรมอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) และ 3) รายการตรวจสอบ (checklist) ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นคู่มือในการตรวจสอบและประเมินสถานะขององค์กรในด้านสิทธิมนุษยชนของธุรกิจด้านการโรงแรม

โครงการวิจัย “มาตรฐานการเคารพสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน”

/

เมื่อพิจารณาสถานการณ์ของภาคธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ธุรกิจมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขณะเดียวกันการดำเนินธุรกิจหลายประเภทมีลักษณะข้ามพรมแดน ซึ่งสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งที่นานาประเทศให้ความสำคัญ ดังนั้น การปฏิบัติตามมาตรฐานสากลต่างๆ อย่างแท้จริงในมิติของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน จึงเป็นประโยชน์ต่อทั้งภาคธุรกิจเองและต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในประเทศต่างๆ เช่นกัน

หน้าที่ 1 จาก 11